แนะนำหนังสือจากสำนักพิมพ์ We Learn ‘ศิลปะเเห่งการคิดไขว้’ หรือ Crossover Thinking

20 มิถุนายน 2567



แนะนำหนังสือจากสำนักพิมพ์ We Learn เเปลโดย เเพรพลอย มหาวรรณ เขียนโดย Dave Trott เรื่อง ‘ศิลปะเเห่งการคิดไขว้’ หรือ Crossover Thinking

9 Comments

  • @proud_journey3759 20 มิถุนายน 2567 at 12:05:40

    ชอบ ช่วง ที่คุณปลื้ม แนะนำ หนังสือ หรือ รายการ ที่คุณปลื้ม ติดตาม

  • @diaranaipuklanan6252 20 มิถุนายน 2567 at 12:21:03

    ฟังคุณหม่อมปลื้มทุกวันค่ะ และแชรให้เพื่อนๆได้ฟังด้วยค่ะ__ขอบคุณมากค่ะที่ให้สาระข่าวสารดีๆกับสังคมอยากให้ทุกคนได้ฟังค่ะเป็นการเรียนรู้ภาษาอังกฤษได้ดีมากๆค่ะ

  • @ap_112 20 มิถุนายน 2567 at 13:36:30

    ชอบๆๆๆหลากหลาย ❤❤❤

  • @OpPp-x6d 20 มิถุนายน 2567 at 14:19:18

    การทำงานไม่ต้องมีสำนัก..ทำด้วยใจรัก มีสารดีๆเป็นวิทยาทานให้คนอื่นดีมากค่ะสุขใจ

  • @jaroochantphradaphseewasu9121 20 มิถุนายน 2567 at 19:57:53

    ชอบมากๆๆ ค่ะที่มีการแนะนำหนังสือ

  • @battleboom 20 มิถุนายน 2567 at 21:39:52

    รออ่านนะค้าบ

  • @Mr.Jipdfgh 22 มิถุนายน 2567 at 10:53:39

    ไม่อ่านก่อนแล้วค่อยมารีวิวหละ 🙄

  • @thasspongthapsang6769 22 มิถุนายน 2567 at 11:03:57

    ตอนที่สอง…

    โดยมีไอ้พวกผิวเหลืองสติปัญญาดีสามชาติ(ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ไต้หวัน) ช่วยกันพัฒนาต่อยอดจินตนาการนี้ ผลที่ได้คือชิพไอซี ชิพประมวลผล เซ็นทรัลโปรเซสซิ่งยูนิต(กลายมาเป็น Cannon, Sony, TSMC, ซัมซุง ฯลฯ ในปัจจุบัน) แล้วก็เข้าสู่ยุค Home computer โดยสมบูรณ์ (แต่โซเวียตก็ยังติดแหง็กอยู่กับหลอดสูญญากาศต่อไป แม้จะพัฒนาหลอดสูญญากาศจนเอามาเป็นอินดิเคเตอร์(ตัวแสดงผล)ได้

    แต่อเมริกากับบริวารก็ไปใกลสุดกู่จนโซเวียตและโลกคอมมิวนิสท์ตามไม่ทันแล้ว

    และในที่สุดสหภาพโซเวียตก็ล่มสลายลงไปในยุค 80

    แต่มรดกล้ำค่าที่สหภาพโซเวียตทิ้งไว้ให้แก่ประเทศบริวาร ก็คืองานด้านวิทยาศาสตร์แขนงอื่นๆที่ไม่ใช่คอมพิวเตอร์ หลากหลายสาขาวิชาการ ที่เป็นมรดกตกทอดจากสภาพโซเวียต ที่มอบให้แก่ประเทศรัสเซียและเหล่าอดีตประเทศบริวารของสหภาพโซเวียตในปัจจุบันทึ่ยังคงถูกพัฒนาต่อยอดก้าวหน้ากว่าโลกตะวันตกในสาขาวิชาเดียวกัน ยกเว้นชิพคอมพิวเตอร์

    Thasspong Thapsang
    19 Jun 2024.

  • @thasspongthapsang6769 22 มิถุนายน 2567 at 11:04:26

    ถ้าพูดถึงความพ่ายแพ้ของสหภาพโซเวียตรัสเซีย ต่อสหรัฐอเมริกา ในสงครามเย็นช่วงปี 80 นั้นมันมีที่มาจากระบอบการเมืองการปกครองจริงๆนั่นแหละ

    อย่างที่ไอน์สไตน์เคยกล่าวไว้ "จินตนาการสำคัญกว่าความรู้"

    ถามว่าหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหภาพโซเวียตไม่มีความรู้หรือ…???

    เปล่าเลย ตรงกันข้าม งานวิทยาศาสตร์ของโลกคอมมิวนิสต์โซเวียตก้าวหน้าที่สุดในโลก อันมาจากหลักการสังคมนิยม ที่บังคับไม่ให้ประชาชนเชื่อถือในเรื่องงมงายที่พิสูจน์ไม่ได้

    ส่งผลให้งานด้านวิทยาศาสตร์ของสหภาพโซเวียตและประเทศบริวาร ก้าวล้ำนำหน้าทุกประเทศในโลก (สหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรได้เป็นชาติแรกของโลก, สหภาพโซเวียตส่งมนุษย์อวกาศ ยูริ กาการิน ไปโคจรรอบโลกได้เป็นชาติแรกของโลก)

    แล้วถามว่าอะไรทำให้โซเวียตพ่ายแพ้อเมริกา

    คำตอบที่ผมได้จากการค้นคว้า-วิเคราะห์เรื่องนี้ด้วยตัวเองมาอย่างยาวนานก็คือ "จินตนาการ" ครับ

    โซเวียตมีแต่ความรู้ แต่ด้วยกฏเกณฑ์ของระบอบสังคมนิยม ทำให้นักวิทยาศาสตร์โซเวียตขาดจินตนาการ การส่งดาวเทียมไปโคจรรอบโลก, การส่งมนุษย์ไปโคจรรอบโลก ล้วนแต่เป็นจินตนาการของชาติตะวันตกมาก่อน(มี วอร์เนอร์ ฟอน บราวน์จากเยอรมันนีเป็นหัวหอกในเรื่องไปอวกาศ, ไปดวงจันทร์นี้) แล้วโซเวียตก็เอา "จินตนาการ" ของโลกตะวันตกมาทำให้เป็นจริงด้วยนักวิทยาศาสตร์ของโซเวียต ที่รัฐบาลคอมมิวนิสต์ทุ่มเทสนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์อย่างเต็มที่

    งบประมาณค้นคว้าวิจัย ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ของโลกคอมมิวนิสท์ พอๆกับงบประมาณด้านกลาโหม(อันที่จริงมันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยซ้ำ)

    แต่นั่นก็ยังไม่ใช่ตัวชี้ขาดผลแพ้ชนะทางด้านเทคโนโลยี

    ตัวชี้ขาดผลแพ้ชนะ มันอยู่ตรงที่อุปกรณ์ตัวเล็กๆที่รู้จักกันในชื่อ "ทรานซิสเตอร์" นี่เอง

    เมื่อตอนเริ่มต้นการแข่งขันเทคโนโลยีระหว่างสหรัฐฯ กับสหภาพโซเวียตนั้น อุปกรณ์อิเลคโทรนิคทั้งของอเมริกาโลกเสรี กับของสหภาพโซเวียตโลกคอมมิวนิสต์ มันมีจุดเริ่มต้นจากหลอดสูญญากาศ (Nixie Tube) ที่ทำหน้าที่เป็นทรานซิสเตอร์ เหมือนๆกัน (ถ้าบ้านใครมีวิทยุธานินทร์เก่าๆหนักๆรุ่น 70-80 ปีก่อนจะเห็นว่ามีหลอดสูญญากาศอยู่ข้างใน) เปิดใช้งานที ต้องหาพัดลมตัวเล็กๆมาเป่าให้ความเย็น เพราะมันร้อนมาก กินไฟมาก

    พอถึงช่วงราวๆปี 50-60 ด้วยจินตนาการของห้องวิจัยเบลแลบของสหรัฐค้นพบวิธีการที่จะนำเอาแร่ชนิดอื่นมาสร้างเป็นทรานซิสเตอร์ทดแทนหลอดสูญญากาศได้

    ประกอบกับช่วงนั้นทั้งเกาหลีใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น ที่บอบช้ำมาจากสงครามโลกเพิ่งจะเริ่มฟื้นตัวจากสงคราม

    อเมริกาต้องการฟื้นฟูเศรฐกิจสามประเทศนี้หลังสงคราม ก็เลยแบ่งปันเทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ให้ประเทศเหล่านี้ เอาไปต่อยอดรังสรรค์เป็นอุปกรณ์อิเลคโทรนิคต่างๆ เป็นวิทยุทรานซิสเตอร์ที่มีขนาดเล็กลง น้ำหนักเบา พกพาไปไหนมาไหนได้ แล้วแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว แล้วต่อยอดพัฒนาจนกระทั่งเกิดอารยธรรม "Walkman" ของ Sony จากญี่ปุ่นที่แพร่ระบาดไปทั่วโลกอย่างรวดเร็ว

    แต่โซเวียตก็ยังคงติดกับดักอยู่ในเทคโนโลยีหลอดสูญญากาศเหมือนเดิม

    ในอีกทางหนึ่ง นักวิจัยของสหรัฐฯก็จินตนาการต่อไปว่า ถ้าทำให้ทรานซิสเตอร์มีขนาดเล็กลง แล้วมีทรานซิสเตอร์หลายๆตัวทำงานร่วมกันอยู่ในวงจรเดียวกัน ก็จะทำให้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีประสิทธิภาพดีขึ้น

    มีต่อตอนที่ 2

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *