เสียงอ่านหนังสือ บันทึกโจวต้ากวาน ทูตจากจีนในอาณาจักรเขมรโบราณ ตอนที่4

18 ตุลาคม 2562



ทูตจากจีนเดินทางมาที่อาณาจักรเขมรโบราณ เล่าถึงควาเป็นอยู๋ของคนในสมัยอาณาจักรพระนคร

40 Comments

  • @alienmuaythai1509 10 กุมภาพันธ์ 2566 at 23:51:28

    เสียดายไม่มีเล่าถึงการแกะสลักและวิธีการของช่างฝีมือใช้เครื่องมืออะไรบ้างในการแกะสลักภาพนูนต่ำ นูนสูง รวมถึงวิธีการก่อสร้างหรือการซ่อมบำรุงปราสาทนะครับ

  • @wichaikannalongkorn574 13 กุมภาพันธ์ 2566 at 14:46:51

    Super Like for both the interpreter and story-teller. Thank you.

  • @สุริยาโพธิ์ชะราช 14 กุมภาพันธ์ 2566 at 03:17:09

    การเป็นกษัตริย์ ในสมัยโบราณ เหมือน คนบ้าอำนาจ ป่วยจิตโหดเหี้ยม คงสมมุติตัวเองประดุจเทพ ในละครจักรๆวงศ์แน่นอนว่า เป็นทุกอาณาจักร

  • @englishelizabeth6143 15 กุมภาพันธ์ 2566 at 17:52:41

    จ้านเฉิงในปัจจุบันคือเมืองอะไร

  • @chealyong6650 17 กุมภาพันธ์ 2566 at 05:17:35

    ขอมมากครับผมเป็นเขมรเข้าไจครับ❤❤

  • @Liberty_Man0311 18 กุมภาพันธ์ 2566 at 12:47:51

    ไม่มีประวัติศาสตร์เล่มไหนจะชัดเจนเท่ากับของจีนอีกแล้ว เพราะการบอกเล่าเรื่องราว จากคนที่อยู่ในยุคนั้นสมัยนั้นจริงๆ มันต่างจากประวัติศาสตร์ที่บอกเล่าเรื่องราวผ่านสิ่งของเครื่องใช้ที่ไม่มีชีวิตจิตใจ เช่น อิฐ หิน ดิน ทราย สิ่งก่อสร้างที่มันบอกเล่าหรือแสดงความรู้สึกนักคิดอะไรไม่ได้ หลักฐานแบบนี้มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์อย่างมาก เพราะมันมีชีวิตจิตใจ มีจิตวิญญาณ ของผู้คน ผ่านการรู้เห็นจริงๆ ของคน ไม่ใช่บอกผ่านทางวัตถุสิ่งของที่ปราศจากชีวิตจิตใจ ถึงแม้จะเจือปนด้วยความรู้สึกส่วนตัวของผู้บันทึกเอาไว้บ้าง แต่นั่นมันคือข้อดีที่มันทำให้เราได้รับรู้รายละเอียดปลีกย่อยเล็กๆ น้อยๆ ได้ชัดมากยิ่งขึ้น และเหมือนผู้ที่อ่านได้รับรู้ถึงความรู้สึกของผู้จดบันทึกได้เป็นระยะๆ ทำให้เหมือนเป็นการสนทนาพูดคุยกันระหว่างเราซึ่งเป็นผู้อ่าน กับคนที่จดบันทึก ซึ่งนั้นคือข้อดี กว่าการเล่าเรื่องในแบบที่ไม่แสดงความคิดเห็นอะไรเลย มันดูเหมือนเราอ่านหนึงสือ แต่สำหรับบันทึกนี้ มันเหมือนเขานั่งคุยนั่งเล่าเรื่องราวสิ่งที่เขาเห็นเขารู้มา ให้เราฟังต่อหน้าเลย

  • @meefamily5141 18 กุมภาพันธ์ 2566 at 22:04:46

    อาบน้ำในสระ ก็คล้ายๆกับคนไทย อาบน้ำในคลอง ในสระน้ำละแวกบ้าน ส่วนคนมีอันจะกินก็จะมีทาสหาบน้ำใส่ตุ่มให้อาบ ส่วนคนจีนคงแบบหนังจีนมาขุดบ่อ ตักใส่ถังมาอาบ แต่ 2-3 วันอาบที ไม่บ่อยแบบคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.

  • @IO-X-b2o 2 มีนาคม 2566 at 09:43:45

    เหล็กไหลมากกว่า เป็นความเขื่อดั่งเดิม

  • @chatwatpatkamol5683 10 มีนาคม 2566 at 21:25:56

    ราชวงศ์ หยวน(มองโกล)

  • @somsakchimplee1826 12 มีนาคม 2566 at 16:48:37

    เขมร ไม่เคยมี อาณาจักร ไม่เคยมีประเทศ ไช้ภาษา ไห้ถูกต้อง ดินแดนแห่งนี้มี อาจักรเจนละ อีสานปุระ กัมพูช ไม่เห็นจะมีประเทศ เขมร

  • @VivoY-ln8xt 12 มีนาคม 2566 at 18:43:36

    นครวัดของสยามมาก่อนเขมร

  • @ภานุมาศแก้วพลาย 12 มีนาคม 2566 at 19:09:00

    ขอม ไม่ใช่ เขมร.

  • @ภานุมาศแก้วพลาย 12 มีนาคม 2566 at 19:38:57

    Claimbodia.

  • @narongvudhiitttivorn8103 13 มีนาคม 2566 at 21:17:19

    ให้เทิ่ยวฟรียังไม่เอาเลยเสียเวลาเปล่าๆเขมรมันร้ายจะตายไปหลอกนักท่องเที่ยวฝรั่งจนเขากลัวรีบกลับมาไทย

  • @s.01kongsri20 14 มีนาคม 2566 at 19:00:05

    เสียงน่าฟังมาก

  • @PPM-fi2er 15 มีนาคม 2566 at 10:28:50

    สวัสดีครับท่าน admin ตรงนาทีที่ 9 นี้ ที่เป็นที่มาของคำว่า เสียมเรียบ หรือเปล่าครับ ?

  • @woraratprangklung577 16 มีนาคม 2566 at 16:41:34

    อยากรู้ว่าตัวหนังสือเขมรที่ใช้ในปัจจุบันเหมือนหรือคล้ายอักษาขอมหรือไม่ ใครช่วยตอยที

  • @s.nandana547 20 มีนาคม 2566 at 11:57:56

    โจว ต้า กวน เป็นจีนเชื้อสายมองโกลที่ตอนนั้นรบชนะศึกและยึดอำนาจมาจากราชวงค์หยวน เป็นช่วงเดียวกันกับสมัยพุกามของพม่าและปลายสมัยทวารวดีก่อนที่ละโว้จะมีอิทธิพลในอุษาคเนย์ และมีความสัมพันธ์กับเขมรในฐานะเมืองที่มีไมตรีต่อกันเพราะไม่เคยส่งบรรณาการไปให้เขมร หากแต่ส่งกองทัพไปช่วยตอนที่พระเจ้าสุริยวรมันปลดแอบเขมรจากพวกจามปา จารึกของชาวจามและบันทึกของเวียดนามว่า สูรยวรรมันทำสงครามใหญ่กับรัฐของชาวเวียดนามที่เรียก ด่ายเวียตถึงสามครั้งและด้วยกำลังพลที่น้อยกว่าจึงพ่ายแพ้ทุกครั้ง สูรยวรรมันจึงหันไปตีจามแทนจึงมีทัพของเสียมกุบดังที่ปรากฏในกำแพงหินโดเรม่อนของเขมรนั่นแหละ จามแพ้ เขมรปล้นเอาราชธานี คือ เมืองวิชัยได้ สูรยวรรมันตั้งน้องเขย คือ หริเทวะ ให้เป็นพระมหากษัตริย์จามพระองค์ใหม่ แต่ต่อมาชาวจามยึดเมืองวิชัยคืนได้แล้วประหารหริเทวะเสีย เขมรพ่ายหนีกลับบ้านเมือง เรื่องราวต่างๆยังมีรายละเอียดอีกมากเขียนเป็นตำราได้เลยจึงเอาแค่เฉพาะหัวข้อสำคัญที่คนเขมรเองยังไม่รู้มาก่อนไม่ใช่มางมงายว่าตนเองนั้นยิ่งใหญ่ไปกว่าใครๆทั้งปวง แต่เป็นเพราะนิสัยของคนเขมรเองที่ชอบทำอะไรเกินตัวและไม่ยอมรับความจริงจนประเทศชาติล่มจมแถมยังรบราฆ่าฟันกันเองอีกด้วย

  • @areeyaja7271 29 มีนาคม 2566 at 12:23:48

    หมู่บ้านของคนเสียม หรือ คนสยามอยู่ ในคลิปนี้มีการสู้รบกัน ทำให้ที่ตรงนั้นต่อมาเงียบ ว่างเปล่า ไม่มีใครอยู่ จะเป็นไปได้มั๋ยว่าที่ตรงนั้นคือเสียมเรียบ คือคนเสียมถูกคนเขมรฆ่าทิ้ง ที่เหลือก็คงจะหนีกลับสยาม (คนเสียมเก่งทั้งค้าขาย ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ทอผ้าไหม ตัดเย็บเสื้อผ้า ทำให้มีรายได้มาก คนในพื้นที่จึงเกลียดคนเสียม โจรจึงเข้ารบ ต่อสู้ เพื่อแย่งทรัพย์สินของคนเสียม)

  • @thanthankhunchai1196 17 เมษายน 2566 at 20:21:58

    อาณาจักรขอมโบราณค่ะ

  • @supojvolvo7257 23 เมษายน 2566 at 13:33:38

    (เสียมเรียบ+ชี่อที่ถูกต้อง+เมีองเสียมราษ+เมีองคนชาวเสียม)+(นครธม+ชี่อที่ถูกต้อง+นครธรรม+เมีองแห่งธรรมมะ)

  • @supojvolvo7257 23 เมษายน 2566 at 13:37:01

    มีการส้ณนิฐาน สม้ยนครว้ต มีคนอาศัย ถึง+1ล้านคน ถีอเป่นเมีอง ที่มีคนอยู่อาศัย มากที่สุดในโลก มีถนน เป็นตาราง ชุมชน แบ่ง เป็น บ้านเป้นกลุ่มๆ กลุ่มละ+4/5หล้ง ตรงกลาง ขุดเป็นสระน้ำ เพี่อไว้ใช้ ในบ้าน+4/5หล้งนี้ ทั้งอาณาจักร มีบ่อน้ำแบบนี้ เป็น+10000บ่อ

  • @JMHOME22 4 กรกฎาคม 2566 at 08:16:20

    “เจนละ” ภาษาเขมรอีสานใต้ออกเสียงว่า “เจือนเลอ” แปลว่า “ชั้นบน” หมายถึง กลุ่มพวกราชวงศ์ ขุนนางสำคัญ เหล่าคนรับใช้ในวังจะมาจากฝั่งที่ราบสูงโคราชและลุ่มน้ำเจ้าพระยา ผ้าไหมเนื้อละเอียด ผ้าไหมยกดอก นุ่มหรือที่เรียกว่า ซำปวต/ซฺปวต กลุ่มาชาวบ้านชุมชนโบราณบ้านจารพัต ทอได้ละเอียด เบาบางมาก หรือบ้านอื่นเช่น บ้านตลุง และหลากหลายหมู่บ้านรู้จักทอผ้า มานานแล้ว แถบหัวเมืองอีสานใต้ค้นเจอว่าอยู่อาศัยก่อนยุคเหล็ก มีการถลุงเหล็กเป็นล่ำเป็นสัน คาราวานเกวียนขนข้าว ขนเกลือจากทุ่งกุลา

    ปราสาทศีขรภูมิเริ่มก็เริ่มสร้างก่อนนครวัดเสียอีก แล้วจึงร่วมสมัยกับนครวัด เป็นศิลปะบาปวนและนครวัด เป็นช่างพื้นถิ่น เหมือนเช่นปราสาทพิมาย เรายังสังเกตการนุ่งผ้า ซึ่งก็สามารถบ่งบอกถึงยุคสมัยของศิลปะได้เช่นกัน กล่าวคือ
    1) ลักษณะการนุ่งผ้าของพระศิวะบนทับหลังปรางค์ประธาน จะนุ่งผ้าโจงกระเบนสั้นที่เรียกว่า ซฺปวต จีบเป็นริ้วชักชายผ้าด้านหน้าออกเป็นวงโค้ง มีชายผ้ารูปคล้ายหางปลา ห้อยลงมาเป็นสองชั้น เป็นการนุ่งผ้าของบุรุษในศิลปะแบบนครวัด
    2) ลัษณะการนุ่งผ้าของพระกฤษณะทับหลังปรางค์บริวาณที่ 1  เป็นศิลปะแบบนครวัด ซึ่งทำเลียนแบบ ประติมากรรมสมัยดั้งเดิมราวพุทธศตวรรษที่ 15 ในศิลปะบาแค็ง การนุ่งผ้าจีบเป็นริ้วชักชายผ้าออกมาเป็นวงโค้งมีอุบะสั้นๆห้อยประดับขอบผ้านุ่งเว้าลงมาที่หน้าท้อง การที่มีขอบผ้าเว้าลงมานั้นเป็นลักษณะการแต่งกายของบุรุษในศิลปะแบบนครวัดตอนต้น ซึ่งเป็นระยะแรกที่ยังนิยมเลียนแบบศิลปะแบบปาปวน ส่วนการนุ่ง ซฺปวต นั้นแบบจีบเป็นริ้วและชักชายผ้าด้านหน้าออกเป็นรูปวงโค้งประดับอุบะ มีชายผ้ารูปคล้ายสมอเรือสองชั้นห้อยอยู่ด้านหลัง เป็นการแต่งกายแบบนครวัดอย่างแท้จริง รวมไปถึงลักษณะของการสวมมงกุฎยอดแหลม สวมกรองศอรูปสามเหลี่ยม มีอุบะสั้นๆ ห้อยประดับและแต่งองค์ด้วยเครื่องประดับประเภทอื่น เช่น กระบังหน้า พาหุรัดก็ล้วนเป็นแบบอย่างของนครวัด ในภาพสลักของสิงห์และช้างคายท่อนพวงมาลัยรูปมกรคายนาค 5 เศียร สลักเป็นรูปกนกแทนรูปนากและแทรกด้วยลายใบไม้ม้วน สิงห์ในภาพสลักจะมีการสวมเครื่องประดับเป็นสร้อยคอแผ่นสามเหลี่ยมขนาดใหญ่ มีอุบะสั้นๆ ห้อยประดับ ลักษณะนี้เป็นที่นิยมกันในศิลปะนครวัด
    3) ลัษณะการนุ่งผ้าของพระกฤษณะบนทับหลังปรางค์บริวาณที่ 2 เป็นการน่งุผ้าจีบเป็นริ้วชักชายผ้าออกมาด้านหน้า ค่อนไปทางขวา มีชายผ้ารูปคล้ายหางปลาสองชั้นห้อยประดับสวมมงกุฏยอดแหลม ในการสังเกตจะพบว่าภาพสลักบนศิลาทับหลังรูปพระกฤษณะประลองกําลังกับสัตว์นี้ น่าจะทําสืบต่อมาจากศิลปะแบบปาปวน โดยดูจูากการนุ่งผ้าที่ชักชายผ้าด้านหน้าออกมาเป็นรูปวงโค้งก่อน ถือเป็นลักษณะของการแต่งกายของบุรุษในศิลปะแบบปาปวน แต่ก็ยัง มีศิลปะของนครวัดเข้ามาปนในรูปแบบของการมีชายผ้ารูปสมอเรืองสองชั้นแบบนครวัดเข้ามาปน นอกจากนี้ยังมีลักษณะของลายที่แปลกและแตกต่างออกไป คือ การสลักรูปสิงห์มีปีกซึ่งไม่ค่อยเห็น โดยทั่วไป รวมทั้งเทพรําภายในซุ้มนุ่งผ้าเลียนแบบบุรุษสมัยปาปวน คือ นุ่ง ซฺปวต สั้นเป็นริ้วขอบผ้านุ่ง ด้านล่างเป็นเส้นเฉียง ขอบชายผ้าด้านบนวาดขึ้น สูงขึ้นทั้งสองข้างของชายโครงมองเห็นหน้าท้องเว้าลึกและชักชายผ้าด้านหน้าออกมาเป็นรูปวงโค้งค่อนไปทางขวา มีลักษณะคล้ายรูปเทพรําบนทับหลังที่ปราสาทหินพิมาย มีผู้ให้เหตผุลว่าปราสาทน่าจะสร้างมานานตั้งแต่สมัยปลายปาปวนต่อสมัยนครวัดตอนต้น ส่วนภาพเทพธิดานั่งชันเข่าที่มุมทั้งสองข้างของทับหลังนุ่ง ผ้าเว้าลงที่หน้าท้อง ชักชายผ้าออกมาทางด้านซ้าย ยาวมาเป็นลักษณะของศิลปะนครวัดตอนต้น

  • @apploo5788 11 กรกฎาคม 2566 at 17:21:10

    ชอบฟังประวัติศาตรครับ ได้ความรุ้ดีและ แอดมินเสียงเพราะมาก แต่ผมข้อคิดเห็นแย้งนิดหน่อย ตรงที่บอกว่า เสียมคือ สุโขทัย ผมว่าไม่ค่อยสอดคล้องกับ เวลาในขณะนั้นนัก เริ่มจาก ภาพสลัก เสียมกุกกำแพง นครวัต ซึ่งเกิด ในราว พศ 1650 เกิด ก่อน สุโขทัย ( พศ1800) ร้อยกว่าปี (อจ สุจิต วงษ์เทศ บอกว่า ศูนย์กลาง สยามตอนนั้นอยู่ที่ เวียงจันทร์ ) โจวต้า กวาน ไปถึง พระนคร 1836-37 เกิดขึ้นหลัง สถาปนา สุโขทัย 36 ปี ซึ่ง ในสมัยก่อนแทบเป็นไปไม่ได้เลยที่ สุโขทัย จะพัฒนาบ้านเมืองได้รวดเร็วจนมีความสำคัญกับชาว พระนคร ขนาดนั้น และ ชาวเสียม ที่ไปอยู่ พระนคร น่าจะเกิดก่อน ปี 1800 (สถาปนา สุโขทัย)ครับ ขอขอบคุณ ท่านแอดมิน ที่นำเรื่องราวดีๆมาให้รับฟังนะครับ ขอบคุณมาก ครับ

  • @MrKissX3 25 กรกฎาคม 2566 at 21:50:47

    พระนครก็ต้องล่มสลายเพราะอยุธยาเราไปกวาดเขามาจบความรุ่งเรืองไปตลอดกาล และ ถึงเวลาอยุธยาเราก็โดนพม่ามากวาดจนล่มลสายเช่นกัน กฏแห่งสรรพสิ่งมีอยู่แล้วก็ไม่มี อนิจจัง

  • @โชคชะตา-ฐ6ฦ 22 สิงหาคม 2566 at 22:11:23

    จิตร ภูมิศักดิ์

  • @supornpitpinkaew8410 5 ตุลาคม 2566 at 17:33:32

    เสียมคือสุโขทัยหรือ..ไม่น่าใช่

  • @นวพลเพียงลิ้ม 8 ตุลาคม 2566 at 10:22:23

    เสียมก๊ก ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของกัมพูชาคือ เสียมชวากะ หรือ เสียมศรีวิชัย ครั้งสมัยราชวงศ์ สุย ถัง เรียกว่า เชี๊ยโทวก๊ก หรือ นครดินแดง สถาปัตยกรรมของกัมพูชาสมัยก่อนเมืองพระนครล้วนแต่ได้รับไปจากศรีวิชัยตั้งแต่สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 พ.ศ.1504 ราชทูตกรุงศรีวิชัยได้ไปเจริญสัมพันธไมตรีกับจักรวรรดิจีนได้กล่าวว่า ราชทูตกรุง ซิลิโฟซิ ได้กล่าวรายงานว่าประเทศของเขาคือ"เสียมหลอก็ก"แล้ว และราชวงศ์กษัตริย์ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยาสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าปทุมสุริยวงศ์ หรือ พระเจ้าสุริยวรมันที่1 แห่งราชวงศ์ไศเลนทร์

  • @พัฒนพลมีศิริ 8 ตุลาคม 2566 at 16:31:30

    ช่วงเป็นเด็กเมื่อห้าสิบก่อน ผมเคยอาศัยที่สุรินทร์ เคยเห็นชาวกวยรึกูยใช้ขวานจาบต้นไม้ที่เป็นต้นไม้ทั้งต้นทำเป็นแผ่นกระดาน ด้วยความเป็นเด็กผมยังคิดว่าทำไมเขาไม่ใช้เลื่อยจะง่ายกว่า ผมยังสงสัย จนได้ฟังคลิปนี้ถึงใจ คงเป็นปัญญาสืบต่อกันมา

  • @SarungKain-g7j 11 ธันวาคม 2566 at 00:32:21

    SRIWIJAYA BUDDHA EMPIRE 💪🔥💪🔥

  • @คุณยายคนเดิมค่ะ 31 ธันวาคม 2566 at 11:22:31

    เล่าน่าฟังมากๆค่ะ

  • @ยืนธงร้านเล่า 3 มกราคม 2567 at 05:08:51

    ถุงน้ำดีเอามาทำไม

  • @ผู้เฒ่าสิบแผ่นดิน 20 มกราคม 2567 at 19:20:29

    มันอยากเป็นอมตะหรือเปล่า ปล้นอวัยวะ เหมือนสมัยจีนโบราณตามหาส่วนผสมทำยาอมตะ

    แบบนี่น่าฟังครับ เสียงเพราะดี อันก่อนหน้า หน้าปกเป็นประวัติศาสตร์กัมพูชา เขมรโบราณอะไรนั่น ผมเลยไม่ได้เปิดฟังสักแอะ เพราะถือว่าช่องนั้นๆยืนยันว่าเขมรคือกัมพูชาปัจจุบัน

    ถ้าเป็นเขมรโบราณ ก็โอเคครับ เพราะไม่รู้ว่าใครเป็นใคร มีเกือบร้อยเผ่าพันธุ์ ไม่รู้ว่าใครเรียกใครว่าเป็นเขมร ใครเป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรไหน ก็ไม่รู้กัน เพราะภาษาก็เหมือนๆกันหมด

  • @sumintrasoison8178 26 กุมภาพันธ์ 2567 at 13:37:18

    กษัตริย์องค์นี้คงจะเป็นพ่อขุนผาเมืองมั้ย คนสยามคงจะตามท่านมาดูจะเป็นเหมือนคนชนชั้นกลางสมัยนั้นน่ะ

  • @vichyutpanupot3156 4 มีนาคม 2567 at 23:41:56

    ฟังแล้วเป็นประเพณี การใช้ชีวิต เหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยาทุกประการเลย ขอมน่าจะเป็นชาวละโว้ อยุธยา เสียนสุโขทัย เป็นลูกเขยเจ้าเมืองราดครองกรุงนครธม เพราะได้พระขรรค์ชัยศรีจากมเหสี สยามปกครองนครวัด นครธม โดยมีเหมนทหารราบเป็นทาส

  • @poodpad2525 18 มีนาคม 2567 at 01:09:40

    ถ้าทุกคนสงสารบรรพบุรุษเราดั่งเดิม โปรดช่วยกันนำเสนอให้ทุกคนได้รู้ว่า ไม่มี เหมนโบราณ เหมนถูกเกณฑ์มาใช้แรงงานในเมืองพระนครสยามโบราณ มีแต่ สยามโบราณ เหมนไม่มีกษัตรย์ สยามโบราณมีกษัตรย์ คนกัมบูซาดั่งเดิมมีเชื้อสายสยามโบราณ โดนค่าล้างเผ่าพันธุ์เกือบ3ล้านคน เป็นคนละกลุ่มกับ กะเซากะแอม เหมน ดีเอ็นเอ มาทางชวา สยามโบราณ ถูกตัดขาดกับสยามปัจจุบัน ถูกบิดไปเป็นเหมนโบราณเพราะถูก หรั่งเศษ ล่าอาณานิคมไปแล้ว อีกทั้ง นัก วชก กับ รบฑยสถ เราโยงข้อมูลเอื้ออะไรบางอย่างกะเหมน ทำให้เราหาตัวตนไม่เจอ แต่เป็นประโยช์หวานหมูกับเหมน แทน จึงอ้างทุกอย่างของเรามาจากเขา ทั้งๆทุกอย่างที่เหมน ถือครองทั้งหมด เป็นของบรรพบุรุษเราในอดีต

  • @mohenjodaro1548 19 มีนาคม 2567 at 02:44:06

    เที่ยวกรุงสุโขทัยบ้าง

  • @SkuyNews 29 มิถุนายน 2567 at 11:23:29

    เสียนคือสุโขทัย ท่อนนี้ออกจากความรู้สึกของผู้เล่าเองหรือเปล่าครับ

  • @สิริพรชัยใจดี 6 สิงหาคม 2567 at 13:54:59

    เจนระ รัชกาล นั้น เป็นช่วงเวลา 4ปี ที่ต้องตกเป็นเมืองขึ้น จามปา แน่เลย

  • @chanchankrit2740 5 กันยายน 2567 at 21:38:17

    เอาจริงๆปราสาทพระวิหารยุในดินแดนของไทยนะ ทางขึ้นก็ยุฝั่งไทย..โกงเอาเฉยๆ เหตุผลช่างบิดเบี้ยวจริงๆ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *