เสียงอ่านหนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ บทนำ-หมวดที่ 1-5 (คมชันสูง 4K 9 ชม. จอจะมืดลงหลังจาก 5 นาที)

1 กรกฎาคม 2564



เสียงอ่าน #หนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ บทนำ และหมวดที่ 1-5
(4K คมชัดสูง 9 ชม. จอจะมืดลงหลังจาก 5 นาที)
ทั้งหมดมี 12 หมวด และบทสรุป (จำนวนหน้า 5-813)

เสียงอ่านโดย #ภิกขุเอเอ อธิจิตฺโต
พุทธวจนสถาบัน ศูนย์เผยแผ่ส่วนกลาง #วัดนาป่าพง
พระธรรมโกศาจารย์(พุทธทาสภิกขุ)
พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล

(มีโฆษณาก่อนวิดีโอเริ่มเล่น, ไม่มีโฆษณาคั่นระหว่างเล่นวิดีโอ, มีโฆษณาหลังวิดีโอเล่นจบ)

“ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นเห็นธรรม, ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นเห็นตถาคต”

สารบัญเสียงอ่าน #ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
บทนำ ว่าด้วย เรื่องที่ควรทราบก่อนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
00:00 การทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท หลังการตรัสรู้ หน้า 5
09:19 สิ่งที่เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท หน้า 11
12:18 เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค์ หน้า 12
14:01 ปฏิจจสมุปบาท คืออริยญายธรรม (สิ่งที่ควรรู้อันประเสริฐ) หน้า 13
17:14 คนเราจิตยุ่ง เพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท หน้า 15
17:52 ปฏิจจสมุปบาท เป็นชื่อแห่งทางสายกลาง หน้า 15
20:39 ทรงแนะนำอย่างยิ่ง ให้ศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท หน้า 16
21:28 คนเราไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม เพราะไม่สามารถตัดกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท หน้า 17
บทนำ จบ

หมวดที่ 1 ว่าด้วย ลักษณะ-ความสำคัญ-และวัตถุประสงค์ของเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
33:47 ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ หน้า 25
41:29 ปฏิจจสมุปบาทแต่ละอาการ เป็นปฏิจจสมุปปันนธรรม หน้า 29
46:35 ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อย่างวิธีถามตอบ หน้า 31
52:33 ปัจจยาการแม้เพียงอาการเดียว ก็ยังตรัสเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทัปปัจจยตา) หน้า 34
1:13:20 แม้แสดงเพียงผัสสะให้เกิดเวทนา ก็ยังเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท หน้า 38
1:21:19 ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทด้วยการขึ้นลง ของน้ำทะเล หน้า 41
1:24:16 การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการเห็นธรรม หน้า 42
1:25:45 ปฏิจจสมุปบาทคือกฎแห่งธรรมฐิติ- ธรรมนิยาม (ในฐานะเป็นกฏสูงสุดของธรรมชาติ) หน้า 43
1:46:58 ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกและดูลึก หน้า 52
1:48:15 ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกซึ้ง เท่ากับเรื่องนิพพาน หน้า 53
1:52:51 นรกเพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทร้อนยิ่งกว่านรกไหนหมด หน้า 55
2:00:31 ผู้แสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเท่านั้น จึงชื่อว่า “เป็นธรรมกถึก” หน้า 59
2:04:33 ปฏิจจสมุปบาท ทำให้อยู่เหนือความมี และความไม่มีของสิ่งทั้งปวง หน้า 61
2:07:57 ไม่มีผู้นั้น หรือผู้อื่น ในปฏิจจสมุปบาท หน้า 62
2:11:27 กายนี้ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท หน้า 64
2:14:45 ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมที่ทรงแสดง เพื่อไม่ให้รู้สึกว่ามีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา (เพื่อขจัดสัสสตทิฏฐิเป็นต้น) หน้า 65
2:22:39 ปฏิจจสมุปบาท มีหลักว่า “ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อสุขและทุกข์” หน้า 68
2:30:09 การรู้ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล หน้า 71
หมวดที่หนึ่ง จบ

หมวดที่ 2 ว่าด้วย ปฏิจจสมุปบาทคือเรื่องอริยสัจสมบูรณ์แบบ
2:42:08 เรื่องปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องอริยสัจ หน้า 81
2:48:06 ปฏิจจสมุปบาททุกอาการ มีลักษณะแห่งความเป็นอริยสัจสี่ หน้า 84
3:08:50 ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งแสดงการก่อขึ้นแห่งทุกข์ หน้า 96
3:11:56 ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งแสดงการดับลงแห่งทุกข์ หน้า 98
3:18:44 อริยสัจในรูปแห่งปฏิจจสมุปบาท มีในขณะแห่งเวทนา หน้า 101
3:19:44 อาการที่ยุ่งยากที่สุดของปฏิจจสมุปบาทคืออาการของตัณหา หน้า 101
3:28:17 ความเหนียวแน่นของสัสสตทิฏฐิ ปิดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยต่อหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท หน้า 106
3:38:29 นัตถิกทิฏฐิปิดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยต่อหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท หน้า 108
4:06:16 ปฏิจจสมุปบาท รวมอยู่ในบรรดาเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ หน้า 112
หมวดที่สอง จบ

หมวดที่ 3 ว่าด้วย บาลีที่แสดงว่า ปฏิจจสมุปบาทไม่ใช่เรื่องข้ามภพข้ามชาติ
4:19:22 ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ไม่ต้องข้ามภพข้ามชาติ) หน้า 123
4:24:30 ปฏิจจสมุปบาทดับได้กลางสาย (โดยไม่ต้องข้ามภพข้ามชาติ) หน้า 125
4:30:13 นันทิเกิดเมื่อใด ก็มีปฏิจจสมุปบาทเมื่อนั้น หน้า 127
4:35:30 นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดับเมื่อนั้น หน้า 128
4:40:41 ในภาษาปฏิจจสมุปบาท กรรมให้ผล ในอัตตภาพที่กระทำกรรม หน้า 131
4:51:26 เห็นปฏิจจสมุปบาท คือฉลาดในเรื่องกรรม หน้า 137
4:53:03 นามรูปหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ หน้า 138
4:55:39 นามรูปไม่หยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ หน้า 139
4:59:18 ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปัญจุปาทานขันธ์ หน้า 141
หมวดที่สาม จบ

หมวดที่ 4 …
มีสารบัญต่อ… ที่ช่องแสดงความเห็น (ในนี้เต็ม)
————————–

แหล่งที่มาเสียงอ่าน วัดนาป่าพง
http://watnapp.com/audio/

อ่านออนไลน์หนังสือปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
https://etipitaka.com/read/thaibt/4/1/

รูปเล่มหนังสือ
https://www.buddhakosvolunteer.org/product/85/หนังสือ-ปฏิจจสมุปบาท-จากพระโอษฐ์-ชุด-ธรรมโฆษณ์

บทสวดปฏิจจสมุปบาท (วนต่อเนื่อง 9 ชม.คมชัดสูง 2K อ่านตามได้หรือเปิดพร้อมทำสมาธิ)

#ปฏิจจสมุปบาท #ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์ #กฏอิทัปปัจจยตา #หัวใจปฏิจจสมุปบาท #สาธยายธรรม #หนังสือพุทธวจน #สัชฌายะ #พุทธวจน #ทางนิพพาน #พระพุทธเจ้า #พระอาจารย์คึกฤทธิ์ #TangNibbana #หนังสือเสียง

38 Comments

  • @TangNibbana 2 กรกฎาคม 2564 at 08:50:16

    สารบัญเสียงอ่าน #ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์
    บทนำ ว่าด้วย เรื่องที่ควรทราบก่อนเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท
    00:00 การทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท หลังการตรัสรู้ หน้า 5
    09:19 สิ่งที่เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท หน้า 11
    12:18 เห็นปฏิจจสมุปบาท คือเห็นพระพุทธองค์ หน้า 12
    14:01 ปฏิจจสมุปบาท คืออริยญายธรรม (สิ่งที่ควรรู้อันประเสริฐ) หน้า 13
    17:14 คนเราจิตยุ่ง เพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาท หน้า 15
    17:52 ปฏิจจสมุปบาท เป็นชื่อแห่งทางสายกลาง หน้า 15
    20:39 ทรงแนะนำอย่างยิ่ง ให้ศึกษาเรื่องปฏิจจสมุปบาท หน้า 16
    21:28 คนเราไม่ปรินิพพานในทิฏฐธรรม เพราะไม่สามารถตัดกระแสแห่งปฏิจจสมุปบาท หน้า 17
    บทนำ จบ

    หมวดที่ 1 ว่าด้วย ลักษณะ-ความสำคัญ-และวัตถุประสงค์ของเรื่อง ปฏิจจสมุปบาท
    33:47 ความหมายของปฏิจจสมุปบาท แต่ละอาการ หน้า 25
    41:29 ปฏิจจสมุปบาทแต่ละอาการ เป็นปฏิจจสมุปปันนธรรม หน้า 29
    46:35 ทรงขยายความปฏิจจสมุปบาท อย่างวิธีถามตอบ หน้า 31
    52:33 ปัจจยาการแม้เพียงอาการเดียว ก็ยังตรัสเรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท (อิทัปปัจจยตา) หน้า 34
    1:13:20 แม้แสดงเพียงผัสสะให้เกิดเวทนา ก็ยังเรียกว่าปฏิจจสมุปบาท หน้า 38
    1:21:19 ทรงเปรียบปฏิจจสมุปบาทด้วยการขึ้นลง ของน้ำทะเล หน้า 41
    1:24:16 การเห็นปฏิจจสมุปบาท ชื่อว่าการเห็นธรรม หน้า 42
    1:25:45 ปฏิจจสมุปบาทคือกฎแห่งธรรมฐิติ- ธรรมนิยาม (ในฐานะเป็นกฏสูงสุดของธรรมชาติ) หน้า 43
    1:46:58 ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกและดูลึก หน้า 52
    1:48:15 ปฏิจจสมุปบาท เป็นเรื่องลึกซึ้ง เท่ากับเรื่องนิพพาน หน้า 53
    1:52:51 นรกเพราะไม่รู้ปฏิจจสมุปบาทร้อนยิ่งกว่านรกไหนหมด หน้า 55
    2:00:31 ผู้แสดงธรรมโดยหลักปฏิจจสมุปบาทเท่านั้น จึงชื่อว่า "เป็นธรรมกถึก" หน้า 59
    2:04:33 ปฏิจจสมุปบาท ทำให้อยู่เหนือความมี และความไม่มีของสิ่งทั้งปวง หน้า 61
    2:07:57 ไม่มีผู้นั้น หรือผู้อื่น ในปฏิจจสมุปบาท หน้า 62
    2:11:27 กายนี้ไม่ใช่ของใคร เป็นเพียงกระแสปฏิจจสมุปบาท หน้า 64
    2:14:45 ปฏิจจสมุปบาทเป็นธรรมที่ทรงแสดง เพื่อไม่ให้รู้สึกว่ามีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา (เพื่อขจัดสัสสตทิฏฐิเป็นต้น) หน้า 65
    2:22:39 ปฏิจจสมุปบาท มีหลักว่า “ไม่มีตนเอง ไม่มีผู้อื่น ที่ก่อสุขและทุกข์” หน้า 68
    2:30:09 การรู้ปฏิจจสมุปบาท เป็นหลักการพยากรณ์อรหัตตผล หน้า 71
    หมวดที่หนึ่ง จบ

    หมวดที่ 2 ว่าด้วย ปฏิจจสมุปบาทคือเรื่องอริยสัจสมบูรณ์แบบ
    2:42:08 เรื่องปฏิจจสมุปบาท คือเรื่องอริยสัจ หน้า 81
    2:48:06 ปฏิจจสมุปบาททุกอาการ มีลักษณะแห่งความเป็นอริยสัจสี่ หน้า 84
    3:08:50 ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งแสดงการก่อขึ้นแห่งทุกข์ หน้า 96
    3:11:56 ปฏิจจสมุปบาท ซึ่งแสดงการดับลงแห่งทุกข์ หน้า 98
    3:18:44 อริยสัจในรูปแห่งปฏิจจสมุปบาท มีในขณะแห่งเวทนา หน้า 101
    3:19:44 อาการที่ยุ่งยากที่สุดของปฏิจจสมุปบาทคืออาการของตัณหา หน้า 101
    3:28:17 ความเหนียวแน่นของสัสสตทิฏฐิ ปิดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยต่อหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท หน้า 106
    3:38:29 นัตถิกทิฏฐิปิดบังการเห็นอริยสัจสี่ จึงสงสัยต่อหลักของอริยสัจหรือปฏิจจสมุปบาท หน้า 108
    4:06:16 ปฏิจจสมุปบาท รวมอยู่ในบรรดาเรื่องที่ใครคัดค้านไม่ได้ หน้า 112
    หมวดที่สอง จบ

    หมวดที่ 3 ว่าด้วย บาลีที่แสดงว่า ปฏิจจสมุปบาทไม่ใช่เรื่องข้ามภพข้ามชาติ
    4:19:22 ปฏิจจสมุปบาทมีเมื่อมีการกระทบทางอายตนะ (ไม่ต้องข้ามภพข้ามชาติ) หน้า 123
    4:24:30 ปฏิจจสมุปบาทดับได้กลางสาย (โดยไม่ต้องข้ามภพข้ามชาติ) หน้า 125
    4:30:13 นันทิเกิดเมื่อใด ก็มีปฏิจจสมุปบาทเมื่อนั้น หน้า 127
    4:35:30 นันทิดับเมื่อใด ปฏิจจสมุปบาทดับเมื่อนั้น หน้า 128
    4:40:41 ในภาษาปฏิจจสมุปบาท กรรมให้ผล ในอัตตภาพที่กระทำกรรม หน้า 131
    4:51:26 เห็นปฏิจจสมุปบาท คือฉลาดในเรื่องกรรม หน้า 137
    4:53:03 นามรูปหยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอัสสาทะ หน้า 138
    4:55:39 นามรูปไม่หยั่งลง เพราะเห็นสัญโญชนิยธรรมโดยความเป็นอาทีนวะ หน้า 139
    4:59:18 ปฏิจจสมุปบาท ที่ตรัสระคนกับปัญจุปาทานขันธ์ หน้า 141
    หมวดที่สาม จบ

    หมวดที่ 4 ต่อ… >>

  • @athinaherzog7989 29 มิถุนายน 2565 at 03:51:21

    เดี๋ยวนี้ฟังเกือบทุกวัน บางวันฟังหลายรอบ

  • @udomjornjorhor6705 14 กรกฎาคม 2565 at 06:56:47

    สาธุสาธุสาธุครับ

  • @realmec17th17 19 กรกฎาคม 2565 at 23:12:31

    กราบสาธุคับ

  • @บุญชูแถวจันทร์ 25 กรกฎาคม 2565 at 08:57:04

    สาธุครับ

  • @ອຸດສາລໍວັນໄຊ 7 สิงหาคม 2565 at 23:32:35

    ກາບອານຸໂມທະນ ສາທຸ ສາທຸ ສາທຸ

  • @chaiyapansit 12 สิงหาคม 2565 at 19:48:15

    สาธุครับ

  • @saengjanschmidt3380 2 กันยายน 2565 at 21:46:26

    🙏🙏🙏

  • @บุญช่วยนาคกระแสร์-ค6ผ 14 กันยายน 2565 at 07:42:54

    น้อมกราบสาธุการเจ้าคะ

  • @thongkhanhphatthana2275 18 กันยายน 2565 at 15:43:52

    🙏🙏🙏

  • @mr.tikkvisesombud871 19 กันยายน 2565 at 07:55:08

    🙏🙏🙏🙏🙏🙏🙏

  • @ณัฐพรโพธิ์สวัสดิ์-อ1ศ 19 กันยายน 2565 at 22:04:59

    น้อม..กราบ…สาธุ.ธรรมะพระตถาคต…✨✨🌷🌹🌷✨✨

  • @พิมยาช่างสอน 24 กันยายน 2565 at 22:37:31

    ขอน้อมกราบนมัสการค่ะ
    สาธุ ในธรรมคำสอนของตถาคตเจ้าค่ะ

  • @พรมทรงมณี-ฏ2ฅ 21 ตุลาคม 2565 at 09:35:06

    กราบสาธุๆๆ ครับ

  • @ปัจจัตตังถึงพระนิพพาน 1 ธันวาคม 2565 at 21:33:13

    สาธุค่ะ🙏

  • @Glinhom-Buddhawajana 17 ธันวาคม 2565 at 20:31:36

    🙏🙏🙏

  • @User_ub3ts9mh5x 21 ธันวาคม 2565 at 16:04:15

    สาธุ สาธุ สาธุ ครับ

  • @channel-rl6bd 10 มกราคม 2566 at 00:19:11

    ສາທຸ🙏🙏🙏

  • @บุญชูแถวจันทร์ 16 มกราคม 2566 at 22:26:40

    สาธุครับ

  • @ณรงค์ศีภักดี 18 มกราคม 2566 at 05:10:26

    อนุโมทนาสาธุครับ

  • @อณะวัฒณ์หอมเนียม 25 มกราคม 2566 at 23:46:07

    สาธุเจ้าค่า🙏

  • @srisagnasummart8941 11 กุมภาพันธ์ 2566 at 20:10:16

    🙏🙏🙏

  • @กอบกุลกรกิ่งมาลา 15 มีนาคม 2566 at 06:05:11

    สาธุ​ค่ะ​

  • @thundergamertv2336 12 เมษายน 2566 at 18:06:38

    สาธุสาธุสาธุ

  • @ชีวิตเหนือชีวิต 30 พฤษภาคม 2566 at 06:34:07

    ขอบพระคุณมากครับ
    สาธุ สาธุ สาธุ

  • @surasekppk8751 26 สิงหาคม 2566 at 14:58:45

    สาธุครับ

  • @OppoA-us9hv 20 กันยายน 2566 at 05:16:47

    ฟังฟังฟังแล้วก็ฟังจะเข้าใจได้เยอะ
    กราบอนุโมทนาสาธุพระอาจารย์

  • @OppoA-us9hv 20 กันยายน 2566 at 05:20:06

    กราบอนุโมทนาสาธุทีมงานของพระอาจารย์คึกฤทธิ์ด้วยเศียรเกล้าที่ให้ประโยชน์มากครับ

  • @มายะ-ภ8ฎ 21 กันยายน 2566 at 14:01:08

    เป็นบุญอย่างยิ่งที่ได้เข้ามารับฟังเจ้าค่ะพระอาจารย์ สาธุ สาธุ สาธุ

  • @Happy1234-v9r 25 กันยายน 2566 at 18:09:29

    ข้าน้อยยังพอมีบุญอยู่บ้างจึงได้เข้ามารับฟังเจ้าค่ะ🙏🙏🙏

  • @สุกัญญาอุปเทห์ 8 มกราคม 2567 at 07:23:43

    ' น้อมกราบขอบพระคุณในธรรมเจ้าค่ะสาธุๆๆเจ้าค่ะ

  • @สุกัญญาอุปเทห์ 8 มกราคม 2567 at 10:13:51

    กราบอนุโมทนาสาธุๆๆค่ะ

  • @ไทยอุบล-ฅนแป๊ะภู 26 กุมภาพันธ์ 2567 at 05:49:35

    น้อมกราบคำสอนพระศาสดาผู้เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย🙏🙏🙏

  • @มานัสสุริยะชัย 27 กุมภาพันธ์ 2567 at 05:05:01

    สุดยอดของธรรมมะสุดยอดของความเพียรและสุดยอดความเพียร ของผู้อ่าน อนุโมทนากับภิกขุเอเอด้วย.

  • @ศิริศักดิ์คําประดับ 2 เมษายน 2567 at 10:13:51

    กราบ อนุโมทนาสาธุสาธุสาธุครับ

  • สาธุครับ ❤🙏🙏🙏

  • @boto4856 14 กรกฎาคม 2567 at 19:52:47

    สาธุ สาธุ สาธุ ขออนูโมทนาบุญด้วยนะครับ สุดยอดแห่งมหาทานเลยครับ

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *