รีวิวหนังสือ แนะนำหนังสือ 2024 อัพเดททุกวัน
น่าฟังมาก..
ชอบฟังครับ
ชอบฟังเสียงท่านอำรุง เกาสไยนัน
คิดถึงรายการแผ่นดินธรรมเลยครับ
ชอบมากค่ะสาธุ สาธุ สาธุ
สาธุ🙏🙏🙏
คำว่า"ดูกร…." อ่านว่า ดู กอน นี่ถูกแล้วใช่ไหมคะ (เคยได้ยินบางท่านอ่านว่า ดู. กะ ระ)
เสียงดนตรุดังกลบเสียงอ่านทุีไพเราะค่ะน่าฟังมากถ้าตัดเสียงดนตรี
สาธุ สาธุ สาธุ
ดนตรีประกอบการบรรยายชื่ออะไรครับ
🙏🙏🙏🙏🙏
ชอบเสียงผู้อ่าน นุ่มมมากครับ
กายเนื้อที่ไม่ใช่เรา กายเนื้อที่ตั้งอยู่ได้ด้วยลมอัสสาสะ เพราะชีวิตมีของกายเนื้อเป็นปกติ เราคือจิต จะตายจะดับก็ตามวันเวลาของกายเนื้อ จะแก่ชราเจ็บป่วยก็ตามผลของกายเนื้อ กายเนื้อมีระบบของกายเนื้อเอง เราคือจิต จะตายได้ก็ด้วยการดับของการเนื้อ (พิจารณาจิตและกองสุขอารมย์อันไม่คงทนในกายเนื้อ เราหาสุข เสพสุขได้แต่ก็อาจต้องพิจารณาจิตเรา แยกกายเนื้อที่เป็นส่วนของกายเนื้อ และจิตที่เป็นเรา กับสิ่งต่างๆที่ล้วนมีผล ร่างกายที่ถูกกล่าวว่าไม่ใช่เรา ก็เพราะกายมีระบบความเสื่อม แก่ชรา กายเนื้อก็อาจมีความธรรมชาติของกายเนื้อเอง
กายเนื้อบางครั้งก็คือเรา แต่ที่อาจถูกเปรียบว่าไม่ใช่เรา เพราะเราไม่สามารถบังคับให้ยั่งยืนได้ เพราะเป็นธรรมชาติของกายเนื้อเช่นนั้น มีแค่จิตใจ จิตวิญญานเรา และใจที่ตายอาจไม่ใช่จิตวิญญานที่ดับหรือแตกดับ แต่ใจที่ตายหมายถึงหมดความอยาก ความรู้สึกทุกข์สุข ดับทุกข์หมดทุกข์ก็อาจคล้ายวางเฉยได้ต่อความเจ็บป่วย ความแก่ชรา ควมมตาย แม้หลุดพ้นจากกรรม กรรมจากตน กรรมจากวังวนแห่งสังคม ภายนอก ภายใน ดับทุกข์บางครั้งก็อาจคล้ายความไม่รู้สึก ไม่เศร้าหมองไปตามสิ่งต่างๆการวางเฉยได้ด้วยตนและปัญญา(ความเข้าใจ)
ในคำว่าสัจธรรม บางครั้งความเป็นจริงก็ใช่ว่าจะมาจากความมีหลักเกณฑ์ สิ่งที่ถูกต้อง(เช่นในมุมมองของสัจธรรม ความมีหลักเกณฑ์ ความเป็นจริงและสิ่งที่ถูกต้อง เช่นกฏแห่งกรรมและผลบุญวาสนา บางครั้งเราอาจเรียนรู้ในคำว่าสัจธรรมนี้คือความเป็นจริงของผลที่สะท้อน ความเป็นปกติธรรมดาของผลสะท้อน บางครั้งก็จนนำไปสู่คำว่าหรือสู่การนิยามเป็นคำว่าสัจธรรม ความเป็นจริง ความธรรมดาของสรรพสิ่ง ความเป็นธรรมชาติของหลายๆสรรพสิ่ง เช่นในด้านกรรม บุญ ความเป็นจริงของผลสะท้อนของสิ่งต่างๆคามความธรรมดาหรือธรรมชาติตามระบบสังคม แม้บางครั้งก็จากความมีกฏเกณฑ์ เราอาจเรียนรู้ได้สองมุมมอง
ในความเป็นจริง ไม่ว่าบุญหรือกรรมก็อาจมีผลสะท้อนจากทั้งความมีกฏเกณฑ์และสังคม เช่นในคำว่าสัจธรรม เราก็อาจเข้าใจได้ว่าสัจธรรมที่แปลว่าความเป็นจริงจากความมีกฏเกณฑ์ของโลก และสัจธรรมในความเป็นธรรมดาของโลก เช่นผลสะท้อนจากความเป็นโลกสังคม ทำบุญทำดี ย่อมมีผู้พบเห็น ผู้สรรเสริญและให้ความพูนผล ปราถนาดีเป็นปกติธรรมดา สร้างกรรมก็ย่อมมีผลสะท้อนจากสิ่งต่างๆเป็นธรรมดา เช่นจากสังคม(หนึ่งในสัจธรรม)ผลสะท้อนในความเป็นธรรมดาธรรมชาติของหมู่สังคม การจะพ้นกรรมพ้นความทุกข์ยากในหนึ่งข้อมุมมองจึงต้นพ้นจากสังคม ภายนอก เพราะพ้นจากข้อวุ่นวาย ข้อติฉินนินทา ข้อถกเถียง ที่บางครั้งก็เปรียบได้กับความวุ่นวาย ไฟ ความร้อน และในตัวเราเอง
ในข้อของบำเพ็ญบุญกุศลเพื่อระงับดับกิเลสอย่างเดียว เราก็อาจมองได้ว่า เป็นส่วนหลักความคิด จิตยึดและเข้าใจ ก็เหมือนคำว่า (มีความคิดเห็น การมีความเชื่อ ยึดในหลักความเชื่อและความมีเหตุผล)การบำเพ็ญบุญก็เหมือนความเข้าใจว่าเราทำบุญเพื่อละ ดับกิเลส คือส่วนของความรู้สึก (ฝึก ปฏิบัติ พัฒนาในส่วนของ อารมย์ความรู้สึก จากการยึดในหลักความเชื่อ ความมีเหตุผล ในส่วนนี้ก็เหมือนคลองพระนิพพาน การยึดในหลักความเชื่อและความมีเหตุผลที่เฉพาะผลพวงที่ได้ก็จะเป็นอารมย์ความรู้สึก)ต่างจากการยึดในบุญกุศล ภพสวรรค์ ผลพวงบางครั้งก็จะถึงส่วนหน้าที่ ความรับผิดชอบ บุญกุศล สุขวาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความดีงาม ต่างจากกามุ่งปฏิบัติพัฒนาจิตใจ การยึดในหลักที่มีความเฉพาะบางครั้งก็อาจเช่นนี้ ความคิดเห็น ในคำว่าคิดก็อาจเหมือนการมีการอยู่ในหลักความเชื่อ มีรูปแบบความเชื่อ เห็นก็อาจคือความมีเหตุผล การมีเหตุผลจนนำไปสู่การยึดเป็นหลักหรือแนวทางความเชื่อ จนเป็นผลในจิตใจ อุปนิสัย (ซึ่งเป็นส่วนสำคัญและความเห็นที่ถูกต้องตามความเป็นจริง สติ ปัญญา
ในคำว่ายกเอาอสุภะกรรมฐาน(หรือยกเอาเหตุผลใดมาพิจารณา)และพิจารณาลงใน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็อาจคล้ายเราพิจารณาในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่นอาจเปรียบยกได้กับตัวตนขึ้นมาพิจารณา และสงเคราะห์ลงในอนิจจังทุกขัง อนัตตา ก็อาจเหมือนคำว่า เอาสิ่งที่เรายกมาพิจารณานั้นเปรียบเทียบกับความไม่จีรังนั่งยืน สิ่งทั้งเหล่านี้ล้วนมีความเสื่อม ความไม่คงทน ความจีรังยั่งยืนเป็นธรรมดา จิตก็อาจหลุดพ้น ปล่อยวางยสิ่งที่ยึดลงได(ก็อาจเหมือนคำว่าถึงพระนิพพาน สงเคราะห์ก็อาจคล้ายคำว่าเอามาพิจารณาให้เห็นถึงความไม่จีรังยิ่งยืน ความคงทน เห็นความเสื่อม เห็นวงวน การยกเอาสิ่งต่างๆมาพิจารณา(ก็จะทำให้เห็นว่า บางครั้งในเส้นทางที่คนเรายึดใช้พัฒนาตนก็อาจมีความแตกต่างกัน จะเหมือนกันก็อาจเป็นหัวข้อของคำสอน ให้เราพิจารณาและยึดหาข้อรายละเอียดพัฒนาตนเอง หลักความรู้ที่มีบางครั้งจึงมีความต่าง (แม้อย่างหนึ่งที่ควรเข้าใจ คนเราต่างชีวิต ต่างสิ่งที่ผ่านพบเจอ ต่างสิ่งที่มี บางครั้งต่างความรู้สึกนึกคิด ต่างสิ่งที่ต้องขจัด พัฒนา ปล่อยวาง บางครั้งก็จึงคล้ายคำว่า ต่างเส้นทางที่ต้อง สร้าง ขจัด พัฒนาตนจากจุดยืนของตนหรือสิ่งที่ตนมีอยู่
แม้บางครั้งเราก็พิจารณาว่า คนที่กำลังพัฒนาตน มีการยึดในหลักความรู้ความเชื่ออยู่อย่างเฉพาะเพื่อพัฒนาตน(เช่นอาจกำลังมุ่งสู่พนะนิพพาน ซึ่งบางครั้งเราก็ไม่อาจรับรู้ได้ถึงปนิธาน การเดินทางของผู้อื่น บางครั้งจึงเบียดเบียนกัน แท้สั่งสอนกันอย่างมิรู้เส้นทาง คนเราหนึ่งสิ่งที่มีความต่างอาจคือหลักความรู้ที่ยึดถือสำหรับดำเนินชีวิตมุ่งสู่จุดหมายปลายทางขิงตน อาจสำหรับกำลังพัฒนา ปฏิบัติ ขัดเกลาตนอยู่(แต่ส่วนมากมักไม่มีใครสนใจ ใครจะเบียดเบียน แม้อื่นๆ เดี่ยวนร้ยากที่จะเข้าใจหรือมีสถานที่อย่างเฉพาะเจาะจง แม้เคารพกันและกัน บางครั้งสิ่งที่พัฒนาตนก็คือหลักความเชื่อ หลักความรู้ที่ใช้ยึดถือเพื่อพัฒนาจิตใจ บางครั้งก็สงสัยใครจะไปถึง ในเมื่อบางครั้งการเบียดเบียนกันก็ทีมากแม้ในหมู่พระ การเคารพกันก็ไม่มี การเข้าถึงความรู้ในบุคคล เช่นหลายๆคนอาจกำลังยึดในหลักความรู้ความเชื่อ อย่างเฉพาะเพื่อปฏิบัติพัฒนาตน(มุ่งสู่เส้นทางนิพพาน)หลายคนปฏิบัติพัฒนา สร้างบุญกุศล หน้าที่ความรับผิดชอบ การรู้ถึงกิจอันสมควร การให้อย่างถูกต้อง การเคารพกันและกัน แม้สถานที่อย่างเฉพาะ แม้เส้นทางจริงๆ บางครั้งเราก็ต้องเข้าใจว่าคนที่กำลังยึดในหลักปฏิบัติ พัฒนาตน ก็อาจต้องการเส้นทางที่เฉพาะ รู้จักเคารพในสิทธิกันและกันในด้านต่างๆ
อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *
ความเห็น *
ชื่อ *
อีเมล *
เว็บไซต์
บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป
20 Comments
น่าฟังมาก..
ชอบฟังครับ
ชอบฟังเสียงท่านอำรุง เกาสไยนัน
ชอบฟังครับ
คิดถึงรายการแผ่นดินธรรมเลยครับ
ชอบมากค่ะสาธุ สาธุ สาธุ
สาธุ🙏🙏🙏
คำว่า"ดูกร…." อ่านว่า ดู กอน นี่ถูกแล้วใช่ไหมคะ (เคยได้ยินบางท่านอ่านว่า ดู. กะ ระ)
เสียงดนตรุดังกลบเสียงอ่านทุีไพเราะค่ะน่าฟังมากถ้าตัดเสียงดนตรี
สาธุ สาธุ สาธุ
ดนตรีประกอบการบรรยายชื่ออะไรครับ
🙏🙏🙏🙏🙏
ชอบเสียงผู้อ่าน นุ่มมมากครับ
กายเนื้อที่ไม่ใช่เรา กายเนื้อที่ตั้งอยู่ได้ด้วยลมอัสสาสะ เพราะชีวิตมีของกายเนื้อเป็นปกติ เราคือจิต จะตายจะดับก็ตามวันเวลาของกายเนื้อ จะแก่ชราเจ็บป่วยก็ตามผลของกายเนื้อ กายเนื้อมีระบบของกายเนื้อเอง เราคือจิต จะตายได้ก็ด้วยการดับของการเนื้อ (พิจารณาจิตและกองสุขอารมย์อันไม่คงทนในกายเนื้อ เราหาสุข เสพสุขได้แต่ก็อาจต้องพิจารณาจิตเรา แยกกายเนื้อที่เป็นส่วนของกายเนื้อ และจิตที่เป็นเรา กับสิ่งต่างๆที่ล้วนมีผล ร่างกายที่ถูกกล่าวว่าไม่ใช่เรา ก็เพราะกายมีระบบความเสื่อม แก่ชรา กายเนื้อก็อาจมีความธรรมชาติของกายเนื้อเอง
กายเนื้อบางครั้งก็คือเรา แต่ที่อาจถูกเปรียบว่าไม่ใช่เรา เพราะเราไม่สามารถบังคับให้ยั่งยืนได้ เพราะเป็นธรรมชาติของกายเนื้อเช่นนั้น มีแค่จิตใจ จิตวิญญานเรา และใจที่ตายอาจไม่ใช่จิตวิญญานที่ดับหรือแตกดับ แต่ใจที่ตายหมายถึงหมดความอยาก ความรู้สึกทุกข์สุข ดับทุกข์หมดทุกข์ก็อาจคล้ายวางเฉยได้ต่อความเจ็บป่วย ความแก่ชรา ควมมตาย แม้หลุดพ้นจากกรรม กรรมจากตน กรรมจากวังวนแห่งสังคม ภายนอก ภายใน ดับทุกข์บางครั้งก็อาจคล้ายความไม่รู้สึก ไม่เศร้าหมองไปตามสิ่งต่างๆการวางเฉยได้ด้วยตนและปัญญา(ความเข้าใจ)
ในคำว่าสัจธรรม บางครั้งความเป็นจริงก็ใช่ว่าจะมาจากความมีหลักเกณฑ์ สิ่งที่ถูกต้อง(เช่นในมุมมองของสัจธรรม ความมีหลักเกณฑ์ ความเป็นจริงและสิ่งที่ถูกต้อง เช่นกฏแห่งกรรมและผลบุญวาสนา บางครั้งเราอาจเรียนรู้ในคำว่าสัจธรรมนี้คือความเป็นจริงของผลที่สะท้อน ความเป็นปกติธรรมดาของผลสะท้อน บางครั้งก็จนนำไปสู่คำว่าหรือสู่การนิยามเป็นคำว่าสัจธรรม ความเป็นจริง ความธรรมดาของสรรพสิ่ง ความเป็นธรรมชาติของหลายๆสรรพสิ่ง เช่นในด้านกรรม บุญ ความเป็นจริงของผลสะท้อนของสิ่งต่างๆคามความธรรมดาหรือธรรมชาติตามระบบสังคม แม้บางครั้งก็จากความมีกฏเกณฑ์ เราอาจเรียนรู้ได้สองมุมมอง
ในความเป็นจริง ไม่ว่าบุญหรือกรรมก็อาจมีผลสะท้อนจากทั้งความมีกฏเกณฑ์และสังคม เช่นในคำว่าสัจธรรม เราก็อาจเข้าใจได้ว่าสัจธรรมที่แปลว่าความเป็นจริงจากความมีกฏเกณฑ์ของโลก และสัจธรรมในความเป็นธรรมดาของโลก เช่นผลสะท้อนจากความเป็นโลกสังคม ทำบุญทำดี ย่อมมีผู้พบเห็น ผู้สรรเสริญและให้ความพูนผล ปราถนาดีเป็นปกติธรรมดา สร้างกรรมก็ย่อมมีผลสะท้อนจากสิ่งต่างๆเป็นธรรมดา เช่นจากสังคม(หนึ่งในสัจธรรม)ผลสะท้อนในความเป็นธรรมดาธรรมชาติของหมู่สังคม การจะพ้นกรรมพ้นความทุกข์ยากในหนึ่งข้อมุมมองจึงต้นพ้นจากสังคม ภายนอก เพราะพ้นจากข้อวุ่นวาย ข้อติฉินนินทา ข้อถกเถียง ที่บางครั้งก็เปรียบได้กับความวุ่นวาย ไฟ ความร้อน และในตัวเราเอง
ในข้อของบำเพ็ญบุญกุศลเพื่อระงับดับกิเลสอย่างเดียว เราก็อาจมองได้ว่า เป็นส่วนหลักความคิด จิตยึดและเข้าใจ ก็เหมือนคำว่า (มีความคิดเห็น การมีความเชื่อ ยึดในหลักความเชื่อและความมีเหตุผล)การบำเพ็ญบุญก็เหมือนความเข้าใจว่าเราทำบุญเพื่อละ ดับกิเลส คือส่วนของความรู้สึก (ฝึก ปฏิบัติ พัฒนาในส่วนของ อารมย์ความรู้สึก จากการยึดในหลักความเชื่อ ความมีเหตุผล ในส่วนนี้ก็เหมือนคลองพระนิพพาน การยึดในหลักความเชื่อและความมีเหตุผลที่เฉพาะผลพวงที่ได้ก็จะเป็นอารมย์ความรู้สึก)ต่างจากการยึดในบุญกุศล ภพสวรรค์ ผลพวงบางครั้งก็จะถึงส่วนหน้าที่ ความรับผิดชอบ บุญกุศล สุขวาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ความดีงาม ต่างจากกามุ่งปฏิบัติพัฒนาจิตใจ การยึดในหลักที่มีความเฉพาะบางครั้งก็อาจเช่นนี้ ความคิดเห็น ในคำว่าคิดก็อาจเหมือนการมีการอยู่ในหลักความเชื่อ มีรูปแบบความเชื่อ เห็นก็อาจคือความมีเหตุผล การมีเหตุผลจนนำไปสู่การยึดเป็นหลักหรือแนวทางความเชื่อ จนเป็นผลในจิตใจ อุปนิสัย (ซึ่งเป็นส่วนสำคัญและความเห็นที่ถูกต้องตามความเป็นจริง สติ ปัญญา
ในคำว่ายกเอาอสุภะกรรมฐาน(หรือยกเอาเหตุผลใดมาพิจารณา)และพิจารณาลงใน อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็อาจคล้ายเราพิจารณาในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่นอาจเปรียบยกได้กับตัวตนขึ้นมาพิจารณา และสงเคราะห์ลงในอนิจจังทุกขัง อนัตตา ก็อาจเหมือนคำว่า เอาสิ่งที่เรายกมาพิจารณานั้นเปรียบเทียบกับความไม่จีรังนั่งยืน สิ่งทั้งเหล่านี้ล้วนมีความเสื่อม ความไม่คงทน ความจีรังยั่งยืนเป็นธรรมดา จิตก็อาจหลุดพ้น ปล่อยวางยสิ่งที่ยึดลงได(ก็อาจเหมือนคำว่าถึงพระนิพพาน สงเคราะห์ก็อาจคล้ายคำว่าเอามาพิจารณาให้เห็นถึงความไม่จีรังยิ่งยืน ความคงทน เห็นความเสื่อม เห็นวงวน การยกเอาสิ่งต่างๆมาพิจารณา(ก็จะทำให้เห็นว่า บางครั้งในเส้นทางที่คนเรายึดใช้พัฒนาตนก็อาจมีความแตกต่างกัน จะเหมือนกันก็อาจเป็นหัวข้อของคำสอน ให้เราพิจารณาและยึดหาข้อรายละเอียดพัฒนาตนเอง หลักความรู้ที่มีบางครั้งจึงมีความต่าง (แม้อย่างหนึ่งที่ควรเข้าใจ คนเราต่างชีวิต ต่างสิ่งที่ผ่านพบเจอ ต่างสิ่งที่มี บางครั้งต่างความรู้สึกนึกคิด ต่างสิ่งที่ต้องขจัด พัฒนา ปล่อยวาง บางครั้งก็จึงคล้ายคำว่า ต่างเส้นทางที่ต้อง สร้าง ขจัด พัฒนาตนจากจุดยืนของตนหรือสิ่งที่ตนมีอยู่
แม้บางครั้งเราก็พิจารณาว่า คนที่กำลังพัฒนาตน มีการยึดในหลักความรู้ความเชื่ออยู่อย่างเฉพาะเพื่อพัฒนาตน(เช่นอาจกำลังมุ่งสู่พนะนิพพาน ซึ่งบางครั้งเราก็ไม่อาจรับรู้ได้ถึงปนิธาน การเดินทางของผู้อื่น บางครั้งจึงเบียดเบียนกัน แท้สั่งสอนกันอย่างมิรู้เส้นทาง คนเราหนึ่งสิ่งที่มีความต่างอาจคือหลักความรู้ที่ยึดถือสำหรับดำเนินชีวิตมุ่งสู่จุดหมายปลายทางขิงตน อาจสำหรับกำลังพัฒนา ปฏิบัติ ขัดเกลาตนอยู่(แต่ส่วนมากมักไม่มีใครสนใจ ใครจะเบียดเบียน แม้อื่นๆ เดี่ยวนร้ยากที่จะเข้าใจหรือมีสถานที่อย่างเฉพาะเจาะจง แม้เคารพกันและกัน บางครั้งสิ่งที่พัฒนาตนก็คือหลักความเชื่อ หลักความรู้ที่ใช้ยึดถือเพื่อพัฒนาจิตใจ บางครั้งก็สงสัยใครจะไปถึง ในเมื่อบางครั้งการเบียดเบียนกันก็ทีมากแม้ในหมู่พระ การเคารพกันก็ไม่มี การเข้าถึงความรู้ในบุคคล เช่นหลายๆคนอาจกำลังยึดในหลักความรู้ความเชื่อ อย่างเฉพาะเพื่อปฏิบัติพัฒนาตน(มุ่งสู่เส้นทางนิพพาน)หลายคนปฏิบัติพัฒนา สร้างบุญกุศล หน้าที่ความรับผิดชอบ การรู้ถึงกิจอันสมควร การให้อย่างถูกต้อง การเคารพกันและกัน แม้สถานที่อย่างเฉพาะ แม้เส้นทางจริงๆ บางครั้งเราก็ต้องเข้าใจว่าคนที่กำลังยึดในหลักปฏิบัติ พัฒนาตน ก็อาจต้องการเส้นทางที่เฉพาะ รู้จักเคารพในสิทธิกันและกันในด้านต่างๆ