อ่านไปเรื่อยกับอรรถ บุนนาค: วรรณกรรมญี่ปุ่นในไทย
2 กุมภาพันธ์ 2563
ช่วยเป็นผู้สนับสนุนพวกเรา
ผ่านบัญชีกสิกรไทย
0698975539
บริษัท สโป๊คดาร์ค จำกัด
เพื่อให้เรามีกำลังในการผลิตเนื้อหาสาระแบบนี้ต่อไป
ขอบพระคุณมากครับ
ตอนนี้ ‘อรรถ บุนนาค’ จะพาคุณไปเรียนรู้โลกของ ‘วรรณกรรมญี่ปุ่นเเปลไทย’ ตั้งเเต่ที่มาที่ไป กระเเสสังคม เเละประวัติศาสตร์ มาดูกันวรรณกรรมญี่ปุ่นเเปลไทยหยั่งรากลงในสังคมไทยเเละส่งผลกับวงการวรรณกรรมของไทยอย่างไรบ้าง ติดตามได้ใน ‘อ่านไปเรื่อย’
————————————————————————-
ติดตาม The Topics Podcast ได้ทาง: http://thetopics.co
Podbean: https://thetopics.podbean.com
Spotify: https://tinyurl.com/ygzv3fsu
Post Views: 140
Tags:
Doraemon,
Haruki Mrakami,
loop,
Ring,
Ring Zero,
Spiral,
Spokedark,
The topics,
การ์ตูนญี่ปุ่น,
คำสาปมรณะ,
จอห์น วิญญู,
จิตวิทยา,
ญี่ปุ่น,
วรรณกรรม,
หนังสือจิตวิทยา,
หาเรื่อง,
อรรถ บุนนาค,
อ่านไปเรื่อย,
ฮารุกิ มุราคามิ,
ื์,
เจาะข่าวตื้น,
แนะนําหนังสือ,
แนะนําหนังสือจิตวิทยา,
โดราเอมอน,
โดเรมอน,
โนบิตะ
29 Comments
ก่อนหน้านี้เคยเห็นสโป๊คดาร์คแชร์หรือกดไลค์ชาแนลเล่าไปเรื่อย เลยไปตามจนได้รู้จักคุณอรรถค่ะ ก็เลยติดตามมาตั้งแต่เทปที่แล้ว ชอบตรงที่พูดถึงปวศการอ่านของแต่ละช่วงมาก ได้ความรู้ดีค่ะ



แต่พอมาเทปนี้รู้สึกเข้าไม่ถึงนิดหน่อย แบบว่าเหมือนตัวละคร(?)เยอะ
ถ้าเป็นไปได้ อยากให้ทางทีมงานเอารูปปกขึ้นด้วยได้ไหมคะ ว่าอ.คนไหนเขียนเรื่องไหนมาบ้าง บางทีก็อยากจะตามด้วย หรือบางทีก็อ่านแต่ว่าไม่ได้จำชื่อคนเขียน จะได้ดูปกละอ้อ คนนี้นี่เอง
บางทีพูดถึงเรื่องชื่ออ.แล้วเข้าใจกันอยู่2คนก็อยากให้คุณอรรถช่วยขยายความด้วยว่า แนวแบบอ.คนนี้ที่ว่าเนี่ย มันเป็นแนวแบบไหน คือบางทีไม่ได้อ่านแต่อยากเข้าใจด้วย(ฟีลแบบรู้แนวทางก็ยังดี) แบบนี้น่ะค่ะ จะหาว่าขี้เสือกก็ได้ แต่อยากรู้เรื่องด้วย แหะๆ
เสียดาย สนพ Bliss ที่แปลฉายาในเนตรเพลิงชานะได้สุดยอดมาก
ชอบโต๊ะโตะจัง อ่านแล้วอยากให้ประเทศไทยมีโรงเรียนเหมือนโรงเรียนโทโมเอะบ้าง
อยากอ่านฮาวทูเก็บอาหารอ่ะค่ะ
รอชำแหละคำผกาด้วยครับ เป็นการสำรวจตรวจสอบทั้งฐานความคิดคุณแขกและสิ่งอื่นๆรวมถึงตัวเราเองที่คงน่าสนใจ
ชอบวรรณกรรมเรื่อง "โคโคโระ" ของนัตสึเมะ โซเซกิ มากเลยค่ะ เป็นเล่มที่อ่านแล้วประทับใจมากๆ T T
ไอดอลการอ่านหนังสือของวัยรุ่นไทยส่วนใหญ่เป็นนักการเมืองค่ะ คุณธนาธรงี้ คุณชัชชาติงี้
ได้ลองอ่าน โต๊ะโตะจัง เลยทำให้รู้สึกติดใจวรรณกรรมญี่ปุ่นไม่น้อยเลยครับ หลัง ๆ เริ่มอ่านมากขึ้นเช่น ตับอ่อนของเธอ งานของมูราคามิ เป็นต้น แต่ตอนนี้ก็ยังไม่กล้าอ่านงานของดาไซอยู่ดีครับ 555
ขอเอโดกาวะ รัมโปะ กับ โยโคมิโสะ เซชิครับ กราบ
ประทับใจคุณครูโคบายาชิในโต๊ะโตะจังมากจนทำให้อยากเป็นครู
23:53
อยากให้พี่พูดถึง วัฒนธรรมการสารภาพรักของญี่ปุ่น
ร่วมเป็นผู้สนับสนุนให้เรามีกำลังผลิตงานต่อไปได้ทาง
บัญชีกสิกรไทย
0698975539
บริษัท สโป๊คดาร์ค จำกัด
นะครับ ขอบพระคุณมากครับ
ชอบรัมโปมากค่ะ ช่วงหลังๆมานี่มีเยอะมากขึ้น ซึ่งถ้าเทียบว่าเป็นทริคเมื่อร้อยปีถือว่าล้ำมากนะ แถมรัมโปวายด้วยนะคะพี่อรรถ
นอนฟังจนหลับเลยคับ
ฟังแล้วถึงรู้ตัวว่าอ่านวรรณกรรมญี่ปุ่นเยอะมากอ่านแทบทุกเรื่องที่กล่าวถึงเลยค่ะ
ถ้าเป็นไปได้อยากให้พูดถึงวรรณกรรมญี่ปุ่นที่ล้มเหลวทั้งยอดขาย/ความนิยมหรือประมาณว่า พิมพ์ออกมาทำไม(วะ)เนี่ย?บ้างครับ
เห็นด้วยเรื่องความละเอียดของคนญี่ปุ่นในงานเขียน ส่วนตัวชอบอ่านโคนัน มาก ติดตามมาตั้งแต่เด็ก ขนาดเป็นแค่การ์ตูนสืบสวนเด็กๆ แต่รายละเอียดที่ อาจารย์โกโชใส่มาคือทำให้คนอ่านรับรู้ถึงการหาข้อมูลที่แน่นมาก ทุกอย่างแหล่งอ้างอิงชัดเจน ประทับใจ
ชอบการถ่ายรายการแบบนี้มันเห็นสีหน้าของผู้พูดชัดเจนดี
ตอนที่เรารู้จักนิยายญี่ปุ่นแรกๆ ก็เริ่มจากนิยายสืบสวนของสำนักพิมพ์เจบุ๊ค อ่านครั้งแรกเมื่อปี 2008 หลังจากนั้น ก็เริ่มกลับมาอ่านงานวรรณกรรมญี่ปุ่น แล้วก็รู้สึกว่าอ่านไม่รู้เรื่องเพราะไม่เข้าใจไวยากรณ์ของญี่ปุ่น ถึงแม้ จะแปลเป็นไวยากรณ์ไทยแล้วก็ตาม อาจจะเรียกผิด แต่หลังจากนั้นก็ไปดูพวกซีรีย์สมัยใหม่ของญี่ปุ่น แต่ก็โดนซีรีย์เกาหลีและตะวันตกอันใหม่ๆ มาดึงดูดจนทำให้ดูไม่จบ งานที่ได้ดูจนจบก็จะเป็นพวก เรื่องคำสารภาพ หรืองานที่คนไทยรู้จักเยอะๆ แม้แต่พวกซีรีย์อนิเมะของญี่ปุ่นในเนตฟลิก บางเรื่องซับไตไติ้ล ก็งง ทั้งไทยทั้งอิ้งจนท้อ ไปดูเรื่องของฝั่งทางอื่นแทน 55 อาจเป็นเพราะเราไม่ค่อยจะอยากอดทนกับรูปแบบของวัฒนธรรมญี่ปุ่นก็ได้ บางครั้งเรื่องก็ดำเนินเนิบนาบจนน่ารำราญ หรือตัวละครของญี่ปุ่นมีลักษณะที่มันเรียลมากจนคนดูรู้สึกว่ามันแบนราบจนน่าจะกลายเป็นสารคดีมากกว่าหนังเพื่อความบันเทิง เพื่อสนุก เพื่อดูแล้วไม่น่าเบื่อ แต่ก็อย่างที่บอกเราดูแต่งานกระแสหลัก นารูโตะ โดเรมอน โคนัน เดดโน๊ต บลาๆ ทั้งอนิเมะและหนังสือการ์ตูน แต่ก็นั่นแหละ พอติดตามไปเรื่อยๆการเอาวัฒนธรรมในประเทศมาเสนอผ่านรูปแบบความบันเทิง เราว่าเกาหลีนั้นงานใหม่ๆนั้นทำได้ดี แทบจะรวมเอาวัฒนธรรมเอเชียร่วมใจมาเลยแหละ คือที่จะสื่อคือ รูปแบบการนำเสนอแรกๆของญี่ปุ่นในการเอาวัฒนธรรมตนเองมาเสนอมันก็น่าสนใจ แต่ถ้าไม่ปรับลูกเล่นใหม่อะไรเลย มันน่าเบื่อ เพราะโลกมันค่อนข้างหมุนไวน่ะ ก็น่าสนจว่าทำไมสื่อตะวันตก หรือของเอเชียในบางประเทศถึงสามารถสร้างอะไรที่เก่าแต่ให้ความรู้สึกใหม่ได้อย่างไร หรือเค้าแค่เอาความคิดเก่าๆมาทำให้แปลกตาสำหรับเราเท่านั้นเอง? จนเราไม่รู้สึกเอียนในการที่จะเสพย์มันนานๆ? แม้แต่เราเองที่ตามอะไรนานๆ ก็เริ่มจะเอียนมันจนต้องพักบ้าง การเอาสิ่งเก่ามาทำให้เรากินใหม่ อาจจะเรียกมันอีกชื่อว่า ความสร้างสรรค์เหมือนที่คนชอบใช้กันบ่อยๆในไทย
โค๊ะโค๊ะโร๊ะ ชอบมากครับ เดี๋ยวจะหาอ่านอีก
ชอบอ่านสืบสวนสอบสวนญี่ปุ่นเหมือนกันค่ะ สไตล์การเดินเรื่องจะไม่ค่อยเหมือนสืบสวนของประเทศอื่น
แต่ที่ชอบที่สุดถ้ามีแนวผีๆ ลึกลับหรือวิญญาณผสมมาด้วยจะชอบมาก เช่น ยาคุโมะ นักสืบวิญญาณ
งานของเคโงะ ก็กำลังเก็บอ่านอยู่ แต่บางเล่มก็ชอบ บางเล่มอ่านแล้วก็ขัดใจนิสัยตัวละคร
จะมีงานสืบสวนลึกลับของไต้หวันก็สนุกค่ะ เรื่อง บันทึกคดีพิศวง จะมีบางอารมณ์ที่คล้ายญี่ปุ่น
วรรณกรรมญี่ปุ่นเป็นงานที่มีเอกลักษณ์จริงๆ ฟังคลิปนี้จดชื่อนักเขียนได้เยอะเลยเผื่อไปหามาอ่านบ้าง 555
ริง คำสาปมรณะ เป็นเล่มแรกที่พาเข้าสู่วรรณกรรมญี่ปุ่นจนทุกวันนี้ค่ะ ตอนนั้น ยังอายุแค่ 15 เจอริง ขายในเซเว่นแถวบ้าน อยากได้มากก ไปขอเงินแม่มาซื้อตอนนั้น ถือว่าแพงสำหรับเด็กไม่มีรายได้ แต่แม่ก็ยอมให้เงินมาซื้อ ทำให้เราอยากได้ต่อๆมา จนต้องเก็บค่าขนมรอทั้งปี เพื่อไปจ่ายในงานมหกรรมหนังสือ
รักหนังสือเล่มนี้มากค่ะ โต๊ะโต๊ะจัง เด็กหญิงข้างหน้าต่าง สาวน้อยอินดี้




เราก็อ่านตามไอดอลเกาหลีแหละ เขาอ่านหนังสือเยอะ อ่านตามจินยอง
คิดถึงพี่อรรถ
โต๊ะโตะจัง เป็นวรรณกรรมญี่ปุ่นเรื่องแรกที่อ่านเลยค่ะ อ่านตั้งแต่ประถม พ่อซื้อให้ ชอบมากเลยค่ะ เป็นเรื่องที่รักมาก ๆ อ่านจนเยินไปหมดเลย แล้วก็ตามสนพ.ผีเสื้อมายาว ๆ หลายปีเลย แต่ส่วนตัวแล้วชอบงานของนัทสึเมะ โซเซกิ ที่สุด
รู้จักทุกเรื่องที่พี่อรรถพูดถึงเลยค่ะ และได้อ่านไปแล้วเกิน 80% ที่พูดถึงเลย >w< และ Bungou Stray Dogs ก็เป็นอนิเมะที่ทำให้เริ่มอ่านงานของดะไซ 555
รอเรื่องไหมนะคะ
ถ้าทิ้งไว้อย่างนั้นก็อยู่อย่างนั้นแหละคนก็ว่าของปลอมของปลอม