‘เซเปียนส์’ 16: ทุนเปลี่ยนโลก | นิ้วกลมอ่าน
10 พฤษภาคม 2563
“ทุนเปลี่ยนโลก” ชวนฟังชวนคิดว่าวิธีคิดแบบทุนนิยมแตกต่างจากโลกก่อนหน้านั้นยังไงบ้าง แล้วมันกำหนดคุณค่า ทางเลือก ความคิดของพวกเรายังไง และกำลังนำไปสู่อะไร
“นิ้วกลมสนทนา” ซีรีส์เซเปียนส์ ขอชวนมาล้อมวงสนทนากันครับ
#นิ้วกลมอ่าน
#วงสนทนาแกล้มสาระ
Post Views: 23
Tags:
'นิ้วกลม',
8 บรรทัดครึ่ง,
history,
็Homo Deus,
i roam alone,
mission to the moon,
Money Coach,
nanake555,
Point of View,
Readery,
Readery Podcast,
roundfinger,
Sapiens,
school of life,
secret sauce,
suthichai live,
the standard podcast,
การศึกษา,
การอ่าน,
ครู,
ความรู้,
ความสุขโดยสังเกต,
คำนี้ดี,
นิ้วกลมสนทนา,
นิ้วกลมอ่าน,
ประวัติศาสตร์,
ป๋าเต็ดทอล์ก,
พศิน,
ยูวัล โนอาห์ แฮรารี,
รีวิวหนังสือนิ้วกลม,
วรรณกรรม,
วรรณสิงห์,
สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์,
สรุป,
สรุปหนังสือ,
สาระ,
หนังสือ,
หนังสือเสียง,
อาสาพาไปหลง,
เจาะใจ,
เซเปียนส์,
เถื่อน channel,
แนะนำหนังสือนิ้วกลม,
โลกอนาคต
23 Comments
wow1❤🤘
ไม่ทันสดอีกแล้ววววว
ชื่นชมงานคุณเอ๋ตั้งแต่อยู่เมืองไทย
จนมาอยู่ออสเตรเลียก็ยังติดตามเสมอๆ
ขอบคุณที่นำหนังสือดีๆมาถ่ายทอดสู่กันฟังนะคะ เป็นอีกหนึ่งกำลังใจจากแดนไกลค่ะ
อยากให้ทำ live ในยูทูปค่ะ
Qeครับ
ผมว่าทุนนิยมกับศก พอเพียง ถ้าไปด้วยกัน จะดีมากครับ
รอฟัง homo deus ตอครับ
ติดตามคุณเอ๋ มาตั้งแต่ "เซ็น1-2"(พื้นที่ชีวิตตอนที่91-92) ดูประมาณ 20 ครั้งแล้ว รอคุณเอ๋อ่าน "Homo deus"ต่อครับ
บอกตัวเองว่าเชื่อเรื่องในอนาคต แต่กลับหลอกตัวเองว่าในอนาคตมีฝูงแกะอยู่อย่างไม่จำกัด
ชอบเรื่องแนวๆนี้ครับ ธรรมชาติของมนุษย์และสัตว์ และจิตวิเคราะห์
เศรษฐศาสตร์โฉมใหม่
สดท้ายแล้ววิชาเศรษฐศาสตร์ ที่นิยามว่า “การจัดการทรัพยากรที่มีจำกัด เพื่อตอบสนองความต้องการที่มีไม่จำกัดของมนุษย์ ” เราน่าจะต้องเปลี่ยนนิยามนี้เสียใหม่เป็น“ศาสตร์แห่งการจัดการคุณค่าที่มีความแตกต่างหลากหลายของ มนุษย์เพื่อให้มนุษย์สามารถรักษาและเพิ่มพูนทรัพยากรที่มีจำกัด เติมเต็มชีวิตสังคมของตนให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ทั้งวันนี้แล้ววันหน้า”
ที่ว่าความต้องการที่มีไม่จำกัด ถ้าเรามองว่าจะต้องการอะไรก็ต้องการไปเถอะ คุณมีเหตุผลอันสมควร มันเป็นสิทธิ์ของคุณ เป็นอธิปไตยของผู้บริโภค อาจารย์เดชรัตคิดว่าไม่ใช่ “ผมคิดว่าวิชาเศรษฐศาสตร์จะต้องพูดถึงการจัดการคุณค่าที่มีหลากหลายของมนุษย์ คือเราเองก็ต้องจัดการคุณค่าภายในตัวเรา เหมือนที่เราพูดว่าไม่จําเป็นต้องบริโภคอย่างเดียวเราก็มีความสุขได้เรารู้จักให้ก็ได้ เราใช้ชีวิตความสัมพันธ์กับครอบครัว เราพักผ่อน เราก็มีความสุข นี่คือ การจัดการคุณค่าเพื่อให้มนุษย์สามารถรักษาและเพิ่มพูนทรัพยากรที่มีจํากัดของเรา คือเราจัดการเฉพาะทรัพยากรอย่างเดี่ยวไม่ได้ มันมีวันที่จะหมดไป จัดการตัวเราเองด้วย จัดการระบบคุณค่าหลายๆเรื่อง เพื่อช่วยให้เราเติมเต็มชีวิตและสังคมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น นี้คือสิ่งที่วิชาเศรฐศาสตร์ควรทำหน้าที่แบบนี้
DECONSTRUCT 2
ถอดรื้อมายาคติประเทศไทยในกระแสเปลี่ยนผ่าน
เวทมนตร์ แห่งเศรษฐศาสตร์-ทุนนิยม-เสรีนิยม
ดร.เดชรัต สุขกําเนิด*
09.00 เข้าเนื้อหา
ติดตามทุก ตอนครับ
9:00 เนื้อหา
อยากให้อ่าน Originals ของ Adam Grant ค่ะ ไม่รู้มีแปลภาษาไทยรึเปล่า พอดีเพิ่งอ่านจบไป รู้สึกว่าดีมาก อยากฟังเพื่อเก็บรายละเอียดเพิ่ม
เมื่อหลับตาต้องการแต่กำไรสูงสุด ก็จะบิดบังจริยธรรมและศิลธรรม….
ทำคอนเทนต์ต่อไปนะคะ ชอบมาก ฟังทุกวัน 🙂
ทำหนังสือของ เดล คาเนกี หน่อยครับ
วัตถุทุนนิยมมีความจำกัดจึงไม่สามารถสนองความปรารถนาที่ไร้ขีดตำกัดของมนุษย์มึความปรารถนาความปิติเบิกบานอย่างไม่มีที่สิ้นสุดจึงต้องขยายจิตออกสู่มิติสูงส่งเหนือจิตภาวะแห่งจิตสำนึกสูงสุดความเป็นสำนึกสากลชัยชนะต่อความความดีงามสูงสุดเมตตา
09:00 เริ่ม
ฟังแล้วเหนื่อยมากกก
ทุนนิยม อย่างในญี่ปุ่น รัฐบาลก็สนับสนุนทุนนิยมเช่น ใครที่ครอบครองที่ดิน แล้วไม่นำมาใช้ ให้เกิดประโยชน์กับคนอื่น เช่นปล่อยว่างเปล่า จะโดนเรียกเก็บภาษีสูง แต่ถ้าให้คนทำสวน ก็เอามาลดหย่อนภาษีได้
เศรษฐกิจจะเล็กลง เพราะคนเทรนด์โลกเกิดน้อยลงค่ะ ตอนนี้บางที่คนตายเยอะกว่าคนเกิดแล้ว ที่ดูเศรษฐกิจโตเป็นเพราะเงินเฟ้อด้วย
แต่ก่อนพ่อแม่ 1 คู่เลี้ยงลูกได้ 10 คน ตอนนี้พ่อแม่และปู่ย่าตายายบางบ้าน อาจเลี้ยงได้แค่คนเดียว มีส่วนเกินโดนสูบออกไปสะสมค่ะ
สรุปให้หน่อยค่ะ